js

Windows 7 ในโลกของ Linux


Windows 7 ในโลกของ Linux



ผู้ใช้งานวินโดวส์ทั้งกลุ่มที่ใช้ในบ้านและสานักงานต่างเริ่มสงสัยว่า จะทาอย่างไรให้วินโดวส์7 ทางานร่วมกับลี

นุกซ์วันนี้เราจะมาเริ่มต้นกับ Windows 7 ในมุมมองของลีนุกซ์กัน

ย้อนกลับไปในแต่ละปีทุกครั้งที่วินโดส์รุ่นใหม่ประกาศตัวออกมา กลุ่มผู้ใช้งานโดยเฉพาะผู้ดูแลระบบ

คอมพิวเตอร์จะต้องมาอัพเดตข่าวสารกันอยู่เสมอ ตั้งแต่เรื่องของการใช้งานทั่วไปของผู้ใช้ วิธีการเข้าสู่เมนูเพื่อใช้

สั่งงานเรื่องต่างๆ การสนับสนุนอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชั่นที่เคยใช้งานอยู่จะเข้ากันได้หรือไม่ รวม

ไปถึงการเชื่อมต่อทางระบบเครือข่าย เรียกว่าต้องไล่เช็คกันทุกด้านเลยทีเดียวว่ามีอะไรเปลี่ยนไปจากวินโดวส์รุ่น

เก่าบ้าง

ในมุมมองของผู้ทางานเกี่ยวข้องกับระบบปฏิบัติการที่หลากหลายก็จะต้อง ถามทันทีว่า แล้วเรื่องการทางานร่วมกับ

ระบบปฏิบัติการอื่นๆ ล่ะ จะเป็นอย่างไร มีอุปสรรคอะไรบ้างหรือไม่ ปัญหานี้ใช่ว่าจะเกิดจากความเปลี่ยนแปลง

ของวินโดว์7 เท่านั้น แต่ยังรวมถึงการพัฒนาที่เกิดขึ้นจากฝากฝั่งลีนุกซ์และซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ สก็มีส่วนช่วยให้

การเข้ากันได้นั้นราบรื่นด้วยเช่นกัน นั่นคือต้องพัฒนาไปพร้อมกันนั่นเอง

ขณะนี้วินโดวส์7 ได้เปิดตัวออกมาให้ดาวน์โหลดเพื่อทดลองใช้งานกันแล้ว ในรุ่น Beta 2 นี้ได้เพิ่มความสะดวก

ในการติดตั้งขึ้น แต่ในขณะเดียวกันก็จากัดรูปแบบไว้ให้เลือกว่าจะใช้งานในลักษณะ Home Use เพื่อใช้งานในบ้าน

หรือ Office Use คือใช้งานในสานักงาน ซึ่งเป็นไปตามแนวโน้มที่ชัดเจนมากขึ้นทุกวันว่าเราจะทางานในบ้านมาก

ขึ้นและ ทุกบ้านจะต้องมีระบบเครือข่ายภายในบ้านเป็นเรื่องธรรมดา ดังจะเห็นจากวินโดวส์7 นี้ว่ามีตัวช่วย

(Wizard) ในการตั้งค่าระบบเครือข่ายที่ฉลาดมากทีเดียว

อีกสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นคุณสมบัติที่มาแรงในยุคนี้คือการเข้ารหัสข้อมูลใน ระบบไฟล์(Encrypted File System) ก็ปรากฏ

รวมอยู่ในทุกๆ ระบบปฏิบัติการที่ออกมาในช่วงปี2008 ต่อเนื่องมาจนถึงวินโดวส์7 นี้ จึงเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ให้

ความสาคัญมากและจะสร้างปัญหาให้กับผู้ดูแลระบบ ต้องเหนื่อยกันอีกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ในมุมมองของการทางานร่วมกันระหว่างวินโดวส์กับลีนุกซ์คงหนีไม่พ้น 4 ประเด็นหลักๆ คือ หนึ่งประเด็นเรื่อง

การทางานในสภาพแวดล้อมแบบเครือข่าย TCP/IP ประเด็นที่สองคือเรื่องการติดตั้งทั้งสองระบบปฏิบัติการไว้ใน

เครื่องพีซี เครื่องเดียวกันหรือการทา Multi-Boot ประเด็นที่สามคือเรื่องการเข้าถึงระบบไฟล์ระหว่างวินโดวส์กับลี



Page 2

นุกซ์ที่อยู่ ภายในเครื่องเดียวกัน และประเด็นสุดท้ายคือเรื่องการโอนไฟล์ระหว่างโฮสต์ที่เป็นวินโดสว์กับโฮสต์ ที่

เป็นลีนุกซ์ผ่านระบบเครือข่าย

ในประเด็นแรกคือการทางานร่วมกันในเครือข่าย TCP/IP เป็นเรื่องที่ไม่มีปัญหาใดๆ เนื่องจากโปรโตคอลดังกล่าว

รวมทั้งบริการภายใต้ชุดโปรโตคอลนี้ ล้วนสร้างขึ้นให้ทางานด้วยข้อตกลงอันเป็นมาตรฐานร่วมกัน ดังนั้นการที่จะ

ใช้ลีนุกซ์เป็นเร้าเตอร์บริดจ์เกตเวย์ หรือเซิร์ฟเวอร์ชนิดต่างๆ เช่น DNS HTTP FTP ฯลฯ. ย่อมใช้งานได้เป็นปรกติ

ประเด็นแรกนี้จึงไม่มีปัญหาแต่อย่างใด

ประเด็นที่สองคือ เรื่องของการติดตั้งระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 7 และลีนุกซ์ในเครื่องเดียวกัน ประเด็นนี้มีการพูด

ถึงน้อยลงมากแล้ว ณ เวลานี้ เนื่องจากเทคโนโลยีVirtualization ชนิดต่างๆ ในปัจจุบันได้เข้ามาตอบสนองได้แล้ว

พร้อมๆ กับประสิทธิภาพของโปรเซสเซอร์ในปัจจุบันที่มีเรี่ยวแรงเหลือพอที่จะรันระบบ ปฏิบัติการหลายๆ ตัว

พร้อมๆ กันโดยอาศัยซอฟต์แวร์ประเภท Virtualization จึงไม่ใช่เรื่องยุ่งยากอีกต่อไป ซอฟต์แวร์จาลองเครื่องพีซี

หรือ Virtual Machine ก็มีให้เลือกใช้งานหลายตัว เฉพาะที่ใช้งานได้ดีอีกทั้งยังฟรีอีกด้วยคงหนีไม่พ้น SunXVM

หรือ VirtualBox ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สที่ยอดเยี่ยมในเรื่องนี้ไม่แพ้ซอฟต์แวร์เชิง พาณิชย์เลยทีเดียว

อย่างไรก็ตาม หากต้องการลงระบบปฏิบัติการวินโดวส์7 ร่วมกับลีนุกซ์โดยเลือกบูตเพียงตัวใดตัวหนึ่งเท่านั้นก็จะ

ได้ใช้ทรัพยากรภาย ในเครื่องพีซีอย่างเต็มที่และไม่ผ่านการจาลองอุปกรณ์ต่างๆ ให้ต้องเป็นข้อจากัดในการใช้งาน

อีกด้วย ก็ต้องแบ่งเนื้อที่ฮาร์ดดิสก์และติดตั้งกันจริงๆ ทั้งสองระบบ

ปัญหาอยู่ที่ว่าจะติดตั้งระบบใดก่อน เพราะถ้าเดิมในฮาร์ดดิสก์มีวินโดวส์7 อยู่ก่อนแล้ว (โดยแบ่งเนื้อที่ดิสก์เหลือ

ไว้ติดตั้งลีนุกซ์) แล้วติดตั้งลีนุกซ์ลงไปทีหลัง แบบนี้ลีนุกซ์แทบทุกดิสทริบิวชั่นจะตรวจพบวินโดวส์ในระหว่างที่ลี

นุกซ์ ดาเนินการติดตั้ง และจะสร้างเมนูแบบ Multi-Boot ไว้ให้ทันที เป็นนโยบายเอื้ออาทรที่ลีนุกซ์ยึดถือมาตลอด

ครับ

สรุปว่า ลงวินโดวส์ก่อน โดยเหลือเนื้อที่ดิสก์ไว้สาหรับลีนุกซ์ เมื่อลงวินโดวส์เสร็จแล้ว ลงลีนุกซ์ตามลงไป จะมี

เมนูMulti-Boot ไว้ใช้เลือกบูตระบบปฏิบัติการทั้งสองโดยอัตโนมัติ

ในทางกลับกันบ้าง หากติดตั้งลีนุกซ์ไว้ก่อนแล้วต้องการติดตั้งวินโดวส์ลงไปทีหลัง ลักษณะเช่นนี้นอกจากเรื่องเนื้อ

ที่ดิสก์ที่จะต้องเหลือเผื่อไว้ให้แก่ วินโดวส์(ซึ่งหลักการติดตั้งลีนุกซ์จะไม่ใช้เนื้อที่ดิสก์ทั้งหมด 100% อยู่แล้วจึงไม่

น่าจะเกิดปัญหา) เนื่องจากวินโดวส์ไม่ได้เอื้ออาทรแก่ระบบปฏิบัติการอื่น ถึงแม้ว่าจะมีระบบอื่นติดตั้งอยู่ก่อนแล้ว

วินโดวส์ก็ไม่สนใจและจะติดตั้งโปรแกรมช่วยบูต (Boot Loader) ทับที่มาสเตอร์บูตเรคอร์ด (MBR) ที่เซกเตอร์แรก

ของฮาร์ดดิสก์ไปเลย ผลลัพธ์ก็คือ หลังจากติดตั้งวินโดวส์เสร็จแล้ว ถึงแม้จะไม่ได้ลบหรือติดตั้งทับพาร์ทิชั่นที่เป็น



Page 3

ลีนุกซ์ก็ตาม เครื่องจะบูตเข้าวินโดวส์ทันทีไม่มีตัวเลือกใดๆ ให้บูตเข้าลีนุกซ์อีกต่อไป

เมื่อมีอาการ "งานเข้า" เช่นนี้วิธีแก้ไขก็คือ จะต้องนาแผ่นติดตั้งของลีนุกซ์รุ่นที่ได้ติดตั้งไว้หรือใหม่กว่า นามาบูต

เข้าสู่กระบวนการ Rescue ซึ่งในปัจจุบันทุกๆ ดิสทริบิวชั่นจะสร้างเมนูไว้บริการและแนะนาวิธีการให้ตลอดทุก

ขั้นตอน เมื่อเข้าถึงระบบไฟล์ของลีนุกซ์ผ่านกระบวนการ Rescue ได้แล้วก็เพียงแต่เข้าไปสร้างเมนูสาหรับบูตเข้า

วินโดวส์และติดตั้งตัว Boot Loader เข้าไปใหม่เท่านั้น มีขั้นตอนดังนี้

rescue # chroot /mnt/sysimage

rescue # vi /boot/grub/grub.conf

แก้ไขข้อความ

timeout=30

#hiddenmenu

เพิ่มข้อความเมนูใหม่

title Windows 7

rootnoverify (hd0,2)

makeactive

chainloader +1

บันทึกไว้

rescue # grub-install /dev/sda

rescue # exit

rescue # reboot


คาสั่ง timeout เป็นการกาหนดระยะเวลาที่จะรอให้ผู้ใช้งานเลือกเมนู hiddenmenu จะซ่อนเมนูไว้โดยแสดงเฉพาะ

เวลานับถอยหลัง จึงไม่ควรใช้งาน title เป็นข้อความที่จะแสดงเมนูตัวเลือก rootnoverify เป็นการระบุพาร์ทิชั่นที่

ติดตั้งวินโดวส์เอาไว้ โดย hd0 หมายถึง ฮาร์ดดิสก์ตัวแรกในเครื่อง ส่วนเลข 2 หลังเครื่องหมายคอมม่า หมายถึง

ลาดับหมายเลขพาร์ทิชั่นที่ติดตั้งวินโดวส์เอาไว้เนื่องจาก GRUB จะเริ่มนับพาร์ทิชั่นตั้งแต่ศูนย์จึงควรกาหนดให้

ถูกต้อง หากไม่ทราบว่าเป็นพาร์ทิชั่นใดกันแน่ให้ใช้คาสั่ง fdisk -l ตรวจดูให้ทราบแน่ชัดเสียก่อน

คาสั่ง makeactive เป็นการกาหนดให้ระบบปฏิบัติการที่เลือก(วินโดวส์) รู้ว่าบูตด้วยพาร์ทิชั่นหลัก ช่วยให้กาหนด

ชื่อไดร้ฟเป็น C: (ถ้าไม่มีคาสั่งนี้วินโดวส์จะเป็นไดร้ฟอื่น เช่น F: ) คาสั่ง chainloader +1 สั่งให้GRUB Boot



Page 4

Loader ค้นหาโปรแกรม Bootstap ของวินโดวส์มาทางานต่อไป

เมื่อทาการบูตเครื่องอีกครั้งจะมีเมนูปรากฏ ดังรูปที่1 ให้ผู้ใช้งานได้เลือกว่าจะบูตเข้าระบบได้ตามความ

ต้องการ

รูป ที่1 เมนูสาหรับวินโดวส์7 ที่เพิ่มขึ้น

ประเด็นที่สาม ว่าด้วยเรื่องการเข้าถึงระบบไฟล์(access file system) ระหว่างสองระบบปฏิบัติการนี้เป็นความ

แตกต่างกันค่อนข้างมาก เนื่องจาก ลีนุกซ์ใช้ระบบไฟล์EXT2/EXT3 ในการจัดเก็บข้อมูล ส่วนวินโดวส์7 ใช้

NTFS ในมุมของลีนุกซ์จะมีความสามารถในการเข้าถึงระบบไฟล์ชนิด NTFS ของวินโดวส์ได้อยู่แล้ว จึงเป็นการ

ใช้งานที่ง่ายมาก ตัวอย่างเช่น ถ้ามีพาร์ทิชั่นที่เป็นไดร้ฟ C: อยู่ที่พาร์ทิชั่นที่4 ของฮาร์ดดิสก์ ในมุมของลีนุกซ์ก็คือ

/dev/sda4 ดังนั้นจึงทาคาสั่งดังตัวอย่างนี้

# mkdir /mnt/c-drive

# mount.cifs /dev/sda4 /mnt/c-drive

# mount

/dev/sda4 on /mnt/c-drive type fuseblk (rw,nosuid,nodev,noatime,...)

ต่อจากนี้ก็เป็นการใช้งานที่พื้นที่/mnt/c-drive ตามปรกติ

เช่น ต้องการเข้าพื้นที่เก็บข้อมูลของยูสเซอร์Jubjang ของวินโดวส์ จะเข้าดังนี้

# cd /mnt/c-drive/Users/Jubjang/



Page 5

มีข้อมูลเพิ่มเติมเล็กน้อยเกี่ยวกับการเม้าต์จากลีนุกซ์ไปยังพาร์ทิ ชั่นของวินโดวส์ที่เป็นระบบไฟล์NTFS จะทา

ไม่ได้ หากอยู่ในสภาพของการ Rescue เนื่องจากไม่มีโมดูลและซอฟร์แวร์สนับสนุน NTFS เตรียมไว้ให้ ผู้เขียน

ทดลองด้วยแผ่นติดตั้งของ Fedora 10 ไปแล้วครับ จะได้ไม่ต้องเสียเวลาลองกันอีก

ในทิศทางกลับกัน หากต้องการอยู่ในวินโดวส์แล้วเข้าถึงระบบไฟล์ EXT2/EXT3 ของลีนุกซ์จะต้องอาศัย

โปรแกรมภายนอกมาช่วย ได้แก่โปรแกรม ext2fsd และโปรแกรม ext2ifs (EXT2 Installable File System for

Windows) ปัจจุบันเป็นรุ่น 1.11a แต่เป็นที่น่าเสียดายที่ไม่สามารถติดตั้งกับวินโดวส์7 ได้ คงจะต้องรอเวอร์ชั่น

ถัดไป หรือมองหาซอฟต์แวร์อื่นๆ มาช่วยในกรณีนี้

มาถึงประเด็นสุดท้าย คือ การโอนย้ายไฟล์ผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งวินโดวส์ใช้โปรโตคอล SMB/CIFS เป็นหลักใน

การแชร์ไฟล์ผ่านเครือข่าย โดยทางานแบบ NetBIOS over TCP/IP ในขณะเดียวกันลีนุกซ์ก็สนับสนุนโปรโตคอลนี้

รวมทั้งระบบไฟล์ผ่านเครือข่าย SMB/CIFS เช่นเดียวกัน การโอนย้ายไฟล์ระหว่างโฮสต์วินโดวส์และลีนุกซ์จึง

ปราศจากอุปสรรคขวางกั้น (ยกเว้นเปิดบริการไฟร์วอลล์เอาไว้)

เริ่มต้นที่มุมของลีนุกซ์ก่อน หากอยู่ในสภาพแวดล้อมแบบ KDE ซึ่งเป็นกราฟฟิกเดสทอป และมีโปรแกรม

บราวเซอร์คู่บารมีKonqueror อยู่แล้ว เพียงแค่ป้อน URL มุ่งหน้าไปยังโฮสต์วินโดวส์ให้ถูกต้อง เช่น

smb://jubjang@192.168.100.203/ แล้วตอบรหัสผ่านให้ถูกต้อง เพียงเท่านี้ก็จะเข้าถึงโฟลเดอร์ของยูสเซอร์Jubjang

ของวินโดวส์ได้แล้ว (แถมโฟลเดอร์Public ของวินโดวส์อีกด้วย)

รูป ที่2 การเข้าสู่วินโดวส์7 แบบกราฟฟิกผ่าน Konqueror



Page 6

รูป ที่3 เข้าถึง Users Folder ได้จาก Fedora 10

การเข้าถึงวินโดวส์7 อีกวิธีหนึ่งโดยการใช้งานแบบคอมมานด์ไลน์ เหมาะอย่างยิ่งสาหรับการเขียนสคริปต์เพื่อ

สารองข้อมูลหรือทางานอัตโนมัติ ต่างๆ ในฝั่งของลีนุกซ์สามารถใช้คาสั่ง mount.cifs ได้ง่ายมาก ชื่อของคาสั่งก็บ่ง

บอกอยู่แล้วว่าใช้เม้าต์ด้วยโปรโตคอล CIFS คาสั่งนี้จะต้องติดตั้งแพคเกจ smbclient ด้วยจึงจะใช้งานได้ ดูตัวอย่าง

การใช้งานกันดีกว่าครับ

# smbclient -L //192.168.100.203 -U jubjang

ตอบรหัสผ่านของยูสเซอร์ของวินโดวส์จะได้คาตอบกลับมาเช่นนี้แสดงว่า jubjang มีสิทธิ์ในโฮสต์นี้

Domain=[JUBJANG-PC] OS=[Windows 7 Ultimate 7000] Server=[Windows 7 Ultimate 6.1]

Sharename Type Comment

ADMIN$ Disk Remote Admin

C$ Disk Default share

IPC$ IPC Remote IPC

Users Disk

session request to 192.168.100.203 failed (Called name not present)

session request to 192 failed (Called name not present)

session request to *SMBSERVER failed (Called name not present)

NetBIOS over TCP disabled -- no workgroup available

# mkdir /mnt/net



Page 7

# mount.cifs //192.168.100.203/Users /mnt/net -o user=jubjang

ตอบรหัสผ่านของ jubjang

# mount

ตรวจสอบด้วยคาสั่ง mount จะปรากฏบรรทัดสุดท้ายว่า

//192.168.100.203/Users on /mnt/net type cifs (rw,mand)

ใช้งานตามปรกติ

# cd /mnt/net

# ls -l

จะสังเกตเห็นโฟลเดอร์Defaults Jubjang Public และไฟล์desktop.ini

พลิกกลับมายังฝั่งโฮสต์วินโดวส์7 กันบ้าง หากเราต้องการสร้างแชร์โฟลเดอร์ที่โฮสต์ลีนุกซ์ แน่นอนครับว่าจะต้อง

คอนฟิก SAMBA Server ให้พร้อมเสียก่อน แล้วสร้างยูสเซอร์สาหรับเข้ามาใช้บริการโฟลเดอร์นั้น ส่วนการเข้าถึง

จากวินโดวส์7 ก็เพียงแค่อ้างอิง UNC มาให้ถูกต้องโดยคิดเสียว่าโฮสต์ลีนุกซ์ก็เป็นวินโดวส์ตัวหนึ่งเท่านั้นเอง

วิธีการคอนฟิกอย่างง่ายที่สุดทาได้ดังนี้ครับ

# vi /etc/samba/smb.conf

ที่บรรทัดสุดท้าย เพิ่มข้อความ

[SHARE]

path = /tmp

writable = yes

public = yes

comment = My First Share Folder

บันทึกไว้

# service smb restart ; service nmb restart

# smbpasswd -a root

ตั้งรหัสผ่านของ root



Page 8

ที่มา : http://www.itdestination.com/articles/win7on-linux/

จากนั้นที่เครื่องวินโดวส์7 เปิด Explorer ขึ้นแล้วพิมพ์UNC ในช่อง Address ว่า \\192.168.100.100

หมายถึงเข้าเครื่องไอพี192.168.100.100 ที่เป็น SAMBA จะต้องตอบรหัสผ่านที่ตั้งไว้เมื่อสักครู่ ก็จะเข้าถึง

แชร์โฟลเดอร์ของลีนุกซ์ได้แล้ว

รูป ที่4 เปิด Explorer ของวินโดวส์7 เข้าสู่ลีนุกซ์

จากการที่ได้สัมผัสกับวินโดวส์7 ทาให้ได้ทราบว่าวินโดวส์รุ่นนี้มีคุณสมบัติใหม่ๆ ที่น่าสนใจมากมาย ที่

ยังรอให้เรานามาใช้ประโยชน์ได้อีกมาก เฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับลีนุกซ์ก็มีหลายแง่มุมที่ผู้ดูแลระบบ

คอมพิวเตอร์จะต้องเรียนรู้และปรับตัวกัน เพราะถึงอย่างไรระบบปฏิบัติการทั้งสองนี้ก็ยังคงต้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น